เช็คสุขภาพ : ที่นี่ ... มีคำตอบให้ทุกคำถามเกี่ยวกับสุขภาพของท่าน
หน้าแรก / บทความ / สิ่งที่ควรกังวลเกี่ยวกับโรคหัวใจ
โดย : วณิชชา สุมานัส
ทบทวนบทความโดย : ทีมแพทย์จากเช็คสุขภาพ
สิ่งที่ควรกังวลเกี่ยวกับโรคหัวใจ

โรคหัวใจคืออะไร

โรคหัวใจ (หรือที่เรียกว่าโรคหัวใจและหลอดเลือด) เป็นคำกว้างๆ เกี่ยวกับปัญหาหัวใจและหลอดเลือด รวมถึง

  • โรคหลอดเลือดหัวใจ
  • การเต้นหัวใจผิดปกติ (โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ)
  • การแข็งตัวของหลอดเลือด (โรคหลอดเลือดแดงแข็ง)
  • การติดเชื้อที่หัวใจ
  • โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด

โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดสมองและอาการแทรกซ้อนอื่น ๆ จะเกิดขึ้นเมื่อหลอดเลือดตันหรือตีก ในขณะที่โรคหัวใจสามารถทำให้ตายได้ ก็สามารถป้องกันได้ในคนส่วนใหญ่ ด้วยการมีไลฟ์สไตล์ที่รักษาสุขภาพตั้งแต่อายุน้อย ก็จะอยู่ได้นานอย่างมีสุขภาพหัวใจแข็งแรง

อะไรเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจ

มีปัจจัยความเสี่ยงมากมายต่อโรคหัวใจ บางปัจจัยก็ป้องกันได้ บางปัจจัยก็ไม่สามารถป้องกันได้ ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่

  • ความดันโลหิตสูง
  • คลอเรสเตอรอลสูง และระดับ HDL ต่ำ
  • สูบบุหรี่
  • โรคอ้วน
  • ไม่ค่อยออกกำลังกาย

ตัวอย่างการสูบบุหรี่เป็นปัจจัยความเสี่ยงที่ป้องกันได้ คนที่สูบบุหรี่จะมีความเสี่ยงสองเท่าที่จะเป็นโรคหัวใจ ข้อมูลจากโครงการให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานแห่งชาติ

คนที่เป็นเบาหวานจะมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจสูงกว่า เพราะระดับกลูโคสในเลือดจะเพิ่มความเสี่ยงของ

  • การเจ็บหน้าอก (หลอดเลือดหัวใจตีบ)
  • โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
  • โรคหลอดเลือดสมอง
  • โรคหลอดเลือดหัวใจ

หากคุณเป็นโรคเบาหวาน จำเป็นต้องควบคุมระดับกลูโคสในการกำจัดความเสี่ยงในการลุกลามของโรคหัวใจ สมาคมโรคหัวใจอเมริกันรายงานโรคหัวใจเป็นสาเหตุสำคัญที่สุดในคนที่มีเบาหวาน 2 ประเภท

ประวัติครอบครัว, เชื้อชาติ, เพศ และ อายุ เป็นปัจจัยความเสี่ยง ปัจจัยความเสี่ยงไม่สามารถปกป้องได้ ประวัติครอบครัวตามคลินิคเมโยอธิบายถึงสมาชิกครอบครัวในการพัฒนาโรคหัวใจ:

  • ผู้ชายอายุน้อยกว่า 55 ปี (โดยเฉพาะพ่อหรือพี่ชายน้องชาย)
  • ผู้หญิงอายุน้อยกว่า 65 ปี ( แม่หรือพี่สาวน้องสาว)

เชื้อชาติเป็นปัจจัย กลุ่มบรรพบุรุษเอเชีย และ แอฟริกาเป็นความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นสำหรับโรคหัวใจมากกว่ากลุ่มอื่น เฉกเช่นเดียวกัน ผู้ชายจะมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจมากกว่าผู้หญิง

ท้ายที่สุด อายุสามารถเพิ่มความเสี่ยงการเป็นโรคหลอดเลือดสมอง จากสมาพันธ์หัวใจโลก ตั้งแต่อายุ 55 ปี ความเสี่ยงของคุณจะเพิ่มโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มเป็น 2 เท่าในช่วง 10 ปี

ฉันสามารถป้องกันโรคหัวใจได้อย่างไร

ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ปัจจัยความเสี่ยงของโรคหัวใจไม่สามารถป้องกันได้ – ตัวอย่างประวัติครอบครัวคุณ แต่เป็นสิ่งสำคัญในการลดระดับโอกาสลุกลามของโรคหัวใจโดยลดปัจจัยความเสี่ยงซึ่งคุณสามารถควบคุมได้

มีความดันโลหิตปกติและระดับคลอเรสเตอรอลในขั้นตอนแรกสำหรับโรคหัวใจที่มีสุขภาพดี ความดันโลหิตที่ปกติคือความดันโลหิตค่าบนน้อยกว่า 120 และความดันโลหิตค่าล่างน้อยกว่า 80 (อธิบายเป็น “120 เหนือ 80” หรือ “120/80 mm Hg”) ค่าความดันโลหิตค่าบนเป็นการวัดความดันที่หัวใจหดตัว ความดันโลหิตค่าล่างเป็นการวัดเมื่อหัวใจผ่อนคลาย ตัวเลขที่สูงขึ้นหมายความว่า หัวใจจะทำงานหนักในการปั๊มเลือด

เป้าหมายของคุณคือการอ่านค่าคลอเรสเตอรอล ขึ้นอยู่กับปัจจัยความเสี่ยงและประวัติสุขภาพหัวใจ หากคุณมีความเสี่ยงของโรคหัวใจ เป็นโรคเบาหวาน หรือเป็นโรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ระดับเป้าหมายของคุณจะค่ำกว่าระดับที่แนะนำสำหรับคนที่ความเสี่ยงต่ำหรือความเสี่ยงเฉลี่ย

ง่ายตามที่จะมอง การบริหารความเสี่ยงสามารถลดความเสี่ยง อย่าคาดหวังความเสี่ยงที่เรื้อรังในฐานะปัจจัยเสริมที่ทำให้เกิดโรคหัวใจ พูดคุยกับแพทย์หากคุณกังวล หรือมีความเครียดกับเหตุการณ์ต่างๆ เช่นงานที่เปลี่ยนไปหรือต้องไปหย่าร้าง

การรับประทานอย่างมีสุขภาพ และ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเป็นสิ่งสำคัญ ให้มั่นใจที่จะหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวและเกลือ คลินิกเมโยแนะนำให้มีการออกกำลังกาย 30-60 นาทีในเวลาส่วนใหญ่ เช็คกับแพทย์เพื่อให้มั่นใจว่าปลอดภัยและตอบสนองแนวทางต่างๆ โดยเฉพาะหาคุณเป็นโรคหัวใจแล้ว

หากคุณสูบบุหรี่ หยุดสูบซะ นิโคตินในบุหรี่ทำให้หลอดเลือดหดตัว ทำให้เป็นการยากในการทำให้เกิดการไหลเวียนของออกซิเจนมีมากกว่า ซึ่งทำให้เกิดโรคหลอดเลือดแดงแข็ง

สิ่งที่ฉันทำได้หลังจากการวินิจฉัยโรคหัวใจ

หากคุณได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหัวใจ ให้คุยกับแพทย์เกี่ยวกับขั้นตอนต่างๆ ที่คุณสามารถทำเพื่อสุขภาพดีที่สุดเท่าที่ทำได้ คุณจะเตรียมพร้อมสำหรับการนัดหมายโดยสร้างรายละเอียดในพฤติกรรมทุกวัน ประเด็นที่เป็นไปได้คือ

  • ใช้ยาบางอย่าง
  • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  • รับประทานอย่างเหมาะสม
  • มีประวัติของครอบครัวที่เป็นโรคหัวใจหรือหลอดเลือดสมอง
  • มีประวัติส่วนบุคคลในความดันโลหิตสูง หรือเบาหวาน
  • อาหารที่คุณเผชิญ (เช่น ทำให้เกิดหัวใจ, วิงเวียนศีรษะ หรือ ขาดพลัง)

การพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอเป็นเพียงพฤติกรรมไลฟ์สไตล์ซึ่งคุณสามารถปฏิบัติ วิธีนี้จะสามารถจับประเด็นปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นอื่นๆ ได้เร็วที่สุดเท่าที่ทำได้ ปัจจัยความเสี่ยงเช่นความดันโลหิตสูอาจจะรักษาด้วยยาเพื่อลดความเสี่ยงของโรคหัวใจ

แพทย์ของคุณอาจจะให้คำแนะนำให้คุณ

  • หยุดสูบบุหรี่
  • ควบคุมความดันโลหิต
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
  • รักษาระดับคลอเรสเตอรอล
  • ลดน้ำหนัก
  • รับประทานอาหารที่ทำให้คุณมีสุขภาพดี

การจัดการกับความเปลี่ยนแปลงทันทีอาจจะไม่เป็นไปได้ ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญสุขภาพซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์จะมีผลกระทบมากที่สุด ยิ่งขั้นตอนเล็กน้อยที่นำไปสู่เป้าหมายจะทำให้คุณสุขภาพดีที่สุด

มีแนวทางรักษาโรคหัวใจเขาไหม

โรคหัวใจไม่สามารถรักษาได้หรือกลับได้  ต้องการเวลาในการดูแลและตรวจสอบอย่างระมัดระวัง อาการของโรคหัวใจจะบรรเทาได้ด้วยยา กระบวนการ และ การเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ วิธีการเหล่านี้จะล้มเหลว จะใช้การผ่านสายสวน หรือการผ่าตัดบายพาส ยิ่งไปกว่านั้น ไม่มีแนวทางที่ย้อนกลับกับเส้นเลือดของคุณ เป็นเรื่องสำคัญเพื่อรับผิดชอบสุขภาพโดยรวม

19/03/2018
บทความที่เกี่ยวข้อง
CHECKSUKKAPHAP.COM
เลขที่ 598 ชั้น 6 ถนนเพลินจิต ลุมพินี ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
095-515-9229
ข้อกำหนดและเงื่อนไข ความเป็นส่วนตัว